<br />
<br />
<p style="text-align: center; margin: 0px"><font color="#ff0000" size="5"><strong><img alt="" src="http://tamdee.udomtam.com/home/attachment/200902/28/4_1235838482Tvvi.jpg" border="0" complete="complete" /></strong></font></p><br />
<u><strong><font size="4"><span style="font-size: 12pt">1. น้ำมันมะพร้าวเป็นโทษกับร่างกายหรือไม่ ?</span></font></strong></u><font size="4"><span style="font-size: 12pt"> </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">วงการแพทย์และนักโภชนาการสมัยใหม่ค้นพบแล้วว่า น้ำมันมะพร้าวไม่เป็นโทษกับร่างกายเลย อันที่จริงสิ่งที่ให้โทษกับร่างกายคือน้ำมันพืชผ่านกรรมวิธีหรือน้ำมันพืชที่เราใช้ปรุงอาหารอยู่ในปัจจุบัน ดังที่เป็นข่าวในอเมริกาว่า ผู้ดำเนินกิจการอาหารฟาสท์ฟู้ดถูกฟ้องฐานทำให้ผู้บริโภคเจ็บไข้ได้ป่วยเพราะใช้น้ำมันพืชผ่านกรรมวิธีที่มีกรดไขมันทรานส์มาปรุงอาหาร</span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">ในทางกลับกันน้ำมันมะพร้าวกลับช่วยป้องกันโรคหัวใจ เบาหวาน และมะเร็ง ไม่ทำให้อ้วนเพราะเผาผลาญได้เร็วจึงไม่สะสม และไม่ทำให้คอเลสเตอรอลสูงขึ้น และความที่เป็นกรดไขมันอิ่มตัวจึงช่วยควบคุมการเกิดออกซิเดชั่นของไขมันในร่างกาย ช่วยลดอนุมูลอิสระ ทำให้ผิวพรรณดี ไม่เหี่ยวย่นแก่ก่อนวัย </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">น้ำมันมะพร้าวไม่เป็นโทษแม้แต่กับเด็กเล็ก เนื่องจากน้ำมันมะพร้าวอุดมไปด้วยกรดลอริค ซึ่งเป็นกรดไขมันที่พบได้มากในน้ำนมแม่นั่นเอง วิธีรับประทานน้ำมันมะพร้าวที่ดีที่สุดคือใช้น้ำมันมะพร้าวแทนน้ำมันพืชชนิดอื่นๆในการปรุงอาหาร หรือจะรับประทานเป็นอาหารเสริมก็ได้ ผู้ใหญ่รับประทานวันละ 3-4 ช้อนชา เด็กวันละ 1-2 ช้อนชา โดยเฉลี่ยแบ่งรับประทานทีละน้อยจนครบจำนวนในแต่ละวัน หรือจะผสมในเครื่องดื่มร้อนๆเช่นโกโก้ร้อนหรือน้ำผลไม้อุ่นๆก็ได้ น้ำมะเขือเทศอุ่นผสมน้ำมันมะพร้าวมีรสชาติอร่อยมาก.</span></font><br />
<br />
<br />
<font size="4"><b><u><span style="font-size: 12pt">2. คุณภาพของน้ำมันมะพร้าวที่ดี ดูได้จากอะไรบ้าง ?</span></u></b></font><font size="4"><span style="font-size: 12pt"> </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">คุณภาพของน้ำมันมะพร้าว เบื้องต้นดูได้จากมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข โรงงานที่ผลิต และน้ำมันมะพร้าว ผ่านการตรวจสอบจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีความใสไม่มีสี ปราศจากสารปนเปื้อน มีกลิ่นหอม ได้รับการรับรองและเลขสารบบ อย. บนฉลากขวด</span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">แต่ก็สามารถตรวจสอบคุณภาพได้ด้วยตนเองง่ายๆ ดังนี้</span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">2.1. ความใส น้ำมันที่สะอาดจะมีความใส ลักษณะโปร่งแสง แต่อาจเปรียบเทียบคุณภาพความใสที่แตกต่างกันในแต่ละยี่ห้อได้ไม่ชัดเจน เนื่องจากไม่ได้อยู่ในขวดลักษณะเดียวกัน สีของพลาสติกหรือแก้ว อาจทำให้มีอิทธิพลกับสีได้บ้าง</span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">2.2. กลิ่น ความหอมของน้ำมันมะพร้าว ต้องหอมอ่อนให้ความรู้สึกว่าเป็นน้ำมันสดใหม่ ไม่มีกลิ่นหืน หรือเปรี้ยว ถึงแม้ว่าจะเปิดใช้แล้วกลิ่นต้องไม่เปลี่ยนแปลง แต่ยังมีผู้ผลิตบางรายดัดแปลงกลิ่น โดยใช้น้ำหอมสังเคราะห์กลิ่นมะพร้าว หรือ กลิ่นมะพร้าวน้ำหอมเข้าไป วิธีนี้จะทำให้มีกลิ่นหอมมากในตอนเปิดขวดหรือเปิดใช้ หลังจากนั้นความหอมจะจางลง และเปลี่ยนเป็นเหม็นเปรี้ยว และทำให้อายุของน้ำมันมะพร้าวอยู่ได้ไม่นาน </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">2.3. ความเบา น้ำมันมะพร้าวคุณภาพดี จะมีความเบา มีความหนืดน้อยมาก เวลารับประทานจะผ่านลำคอได้ง่ายและเร็ว มีความรู้สึกเหมือนละลายในปาก ในขณะที่กลืนลงคอไม่มีกลิ่นรุนแรง ไม่เลี่ยน</span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">2.4. ความซึมเข้าสู่ผิว น้ำมันมะพร้าวคุณภาพดี จะมีโมเลกุลเล็ก ทำให้ซึมเข้าสู่ผิวได้เร็ว ไม่ทิ้งคราบน้ำมันลอยอยู่บนผิว</span></font><br />
<br />
<br />
<br />
<font size="4"><b><u><span style="font-size: 12pt">3. ใช้น้ำมันมะพร้าวทำอาหารแล้วมีกลิ่น / เทคนิคการรับประทานน้ำมันมะพร้าว</span></u></b></font><font size="4"><span style="font-size: 12pt"> </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">กลิ่นของน้ำมันมะพร้าวมีเหตุผล 2 ลักษณะ คือ </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">1. ความเคยชินของการใช้น้ำมันพืชผ่านกรรมวิธีที่ใช้สารเคมีฟอกสี ฟอกกลิ่นออกจนหมดจึงไม่ได้กลิ่นเวลาทำอาหาร</span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">2. น้ำมันพืชบริสุทธิ์ทุกชนิดจะมีกลิ่นเฉพาะตัว เนื่องจากไม่ได้ใช้สารเคมีใดเข้าไปดัดแปลง น้ำมันมะพร้าวก็เช่นกัน จะมีกลิ่นเฉพาะของน้ำมันมะพร้าว หากผู้บริโภคไม่เคยชิน อาจใส่ใบเตยหรือหอมซอยลงไปในน้ำมันก่อนทอด จะทำให้กลิ่นของน้ำมันมะพร้าวลดลงได้มาก</span></font><br />
<br />
<font size="4"><b><span style="font-size: 12pt">เทคนิคการับประทานน้ำมันมะพร้าวในรูปแบบต่าง ๆ</span></b></font><font size="4"><span style="font-size: 12pt"> </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">1. ใส่ผสมในน้ำผลไม้ (สูตรของ ดร.ณรงค์โฉมเฉลา ใส่ลงในน้ำส้มคั้นรับประทานทุกวัน) </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">2. ใส่ในแกงจืด อาหารแกงต่างๆ </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">3. ใช้เป็นน้ำสลัด </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">4. ราดบนน้ำแข็งใส ไอศกรีม (สูตรนี้เด็กชอบรับประทาน) </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">5. ใช้ทอดอาหาร อาหารจะไม่ชุ่มน้ำมัน และมีความกรอบได้นาน </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">6. ใส่ลงไปพร้อมการหุงข้าว จะทำให้ได้ข้าวนุ่ม หอม อร่อย (สูตรพิเศษใส่กระเทียมเล็ก 5-6 กลีบ และใบเตยโรยเกลือนิดหน่อยจะยิ่งทำให้อร่อยมากขึ้น)</span></font><br />
<br />
<br />
<font size="4"><b><u><span style="font-size: 12pt">4. เวลาน้ำมันมะพร้าวเป็นไข</span></u></b></font><font size="4"><span style="font-size: 12pt"> </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">น้ำมันและไขมันมีความแตกต่างกันอย่างไร น้ำมัน และไขมันมักจะถูกใช้แทนที่กันเสมอ น้ำมันมีสถานะเป็นของเหลว ส่วนไขมันมีสถานะเป็นของแข็ง น้ำมันทุกชนิด สามารถกลายเป็นไขได้ แต่ด้วยอุณหภูมิที่แตกต่างกัน น้ำมันมะพร้าวเป็นไข (แข็งตัว มีลักษณะเป็นครีมขาว) ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 25๐c เนื่องจากมีคุณสมบัติเป็นน้ำมันอิ่มตัวสูง จึงเปลี่ยนเป็นไขเร็วกว่าน้ำมันชนิดอื่น ทำให้น้ำมันมะพร้าวมีสภาพเป็นครีมขาว ณ ที่จุดวางขาย หากมีอุณหภูมิเย็น (และจะเปลี่ยนกลับเป็นน้ำมันใสดังเดิมที่อุณหภูมิสูงกว่า 25?c)</span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">ไขของน้ำมันมะพร้าวไม่ใช่น้ำมันเสีย แต่กลับเป็นสัญลักษณ์ของน้ำมันชนิดดี ที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เมื่อคุณซื้อมาจากชั้นวางขาย หรือวางไว้ในห้องแอร์ น้ำมันมะพร้าวอาจเป็นไขได้ คุณเพียงแต่ละลายไขนั้นด้วยการนำออกไปวางในห้องที่มีอุณหภูมิปกติ หรือวางไว้ในบริเวณที่ใกล้แสงแดด (ไม่ควรตากแดด เพราะหากลืมทิ้งไว้เป็นเวลานาน ความร้อนที่สะสมอาจมีผลกับภาชนะบรรจุ) </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">ถึงแม้น้ำมันมะพร้าวจะเป็นผลิตผลของพืชเมืองร้อน แต่กลับเป็นที่นิยมของคนที่อยู่ในเขตหนาว การเป็นไขของน้ำมันมะพร้าวจึงเป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้น ภาชนะที่ใช้ให้เหมาะสมจึงใช้เป็นกระปุกปากกว้าง เพื่อใช้ตักแทนการเทริน และขณะนี้การสั่งน้ำมันมะพร้าวออกไปขายยังประเทศเหล่านั้นไม่เพียงพอต่อความต้องการ</span></font><br />
<br />
<br />
<font size="4"><b><u><span style="font-size: 12pt">5. SHELF LIFE ของน้ำมันมะพร้าว </span></u></b></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">น้ำมันมะพร้าวที่ดีจะมี SHELF LIFE (อายุของผลิตภัณฑ์) นานมาก MCFAS (กรดไขมันสายปานกลาง) จะมีคุณสมบัติเป็นสาร ANTIOXIDANTS ทำให้ป้องกันการเสียได้นาน จากผลทดลองในห้อง LAB ของฟิลิปปินส์ น้ำมันมะพร้าวที่บรรจุในกระปุกและเปิดฝาทิ้งไว้ มี SHELF LIFE นานกว่า 5 ปี</span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">แต่ถ้าน้ำมันมะพร้าวมีกลิ่นเหม็นเปรี้ยว หรือ หืนแล้ว ไม่ควรรับประทาน เพราะกลิ่นที่เปลี่ยนไปนี้เกิดจากมีความชื้นเข้าไปรวมตัวกับน้ำมันมะพร้าว เกิดเป็นสารอนุมูลอิสระ</span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">เพราะฉะนั้นศัตรูที่สำคัญที่สุดของน้ำมันมะพร้าว คือความชื้น ขั้นตอนการ DRY OIL คือการกำจัดความชื้นออกจากน้ำมันมะพร้าว เป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุดขั้นตอนหนึ่ง ดังนั้นเมื่อต้องการน้ำมันมะพร้าวที่ดี การดมกลิ่นจึงสามารถใช้เป็นมาตรฐานการเลือกซื้อเบื้องต้นได้ และหลังจากเปิดใช้แล้วควรเก็บให้ห่างจากการเปียกน้ำ และความชื้น จะทำให้มีอายุการใช้งานได้นาน</span></font><br />
<br />
<br />
<font size="4"><b><u><span style="font-size: 12pt">6. ทำไมรับประทานน้ำมันมะพร้าวแล้วท้องระบาย และทำไมรับประทานน้ำมันแต่ละยี่ห้อท้องระบายไม่เท่ากัน</span></u></b></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">ในลำไส้ใหญ่ของเราจะอุดมไปด้วย PROBIOTIC แบคทีเรียชนิดดีอยู่เป็นจำนวนมาก ทำหน้าที่ควบคุมเชื้อยีสต์ และเชื้อรา (ซึ่งเป็นสาเหตุของลำไส้ใหญ่อักเสบ เชื้อราในช่องคลอด) เมื่อเรารับประทานอาหารที่มีไฟเบอร์ซึ่งมีมากใน ผัก ผลไม้ PROBIOTIC จะใช้เอนไซม์ช่วยย่อย สิ่งที่ได้หลังการย่อย จะได้เป็นกรดไขมันสายสั้น (SCFAs) และกรดไขมันสายปานกลาง (MCFAs) ในสภาวะที่อุดมไปด้วยกรดไขมันนี้เป็นสภาวะที่เอื้อให้ PROBIOTIC เพิ่มจำนวนขึ้นมากอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้การย่อยในลำไส้ใหญ่มีประสิทธิภาพสูง จึงขับถ่ายเร็วขึ้น และขับของเสียออกมาอย่างสะดวกสบายท้อง </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">น้ำมันมะพร้าวอุดมไปด้วยกรดไขมันสายปานกลาง (MCFAs) จึงมีผลต่อ PROBIOTIC ทันทีที่น้ำมันเดินทางไปถึงลำไส้ใหญ่ ดังนั้นหลังจากรับประทานน้ำมันมะพร้าวไปได้ไม่นาน จะรู้สึกเป็นการกระตุ้นลำไส้ให้ขับถ่าย บวกกับคุณสมบัติความลื่นของไขมันจึงช่วยส่งเสริมให้การขับถ่าย ไหลลื่น สะดวดรวดเร็ว </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">การขับถ่ายที่สะดวกนี้ไม่เหมือนการขับถ่ายที่เกิดจากการรับประทานอาหารผิดสำแดง ไม่มีโทษใดๆ กับร่างกายไม่ทำให้ร่างกายอ่อนเพลีย เนื่องจากเสียเกลือแร่ ไม่มีผลอันตรายใดๆ เกิดขึ้นเหมือนเช่นรับประทานยาระบาย เพียงแต่ให้คอยสังเกตว่า ลำไส้ของเรามีความไวต่อเรื่องนี้มากน้อยอย่างไร ปรับจำนวนการรับประทาน และเวลาที่สะดวกในการขับถ่าย ก็จะเหมาะสมและสะดวกขึ้น </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">นอกจากคุณสมบัติของ MCFAs ที่ช่วยให้การขับถ่ายมีประสิทธิภาพดีแล้ว และหากคุณใช้น้ำมันมะพร้าวพร้อมกันหลายยี่ห้อและให้ผล จำนวนการรับประทานที่แตกต่างกัน เช่นบางยี่ห้อรับประทานเพียง 1 ช้อนโต๊ะ บางยี่ห้อต้องรับประทานถึง 2 ช้อนโต๊ะ จึงจะมีผลในการขับถ่ายเหมือนกัน ให้สันนิษฐานเบื้องต้นว่ามีความแตกต่างกันที่ความสะอาดในการผลิต ยี่ห้อที่รับประทานถึง 2 ช้อนโต๊ะน่าจะมีความสะอาดในการผลิตมากกว่า และควรกลับไปพิจารณาเปรียบเทียบในคุณสมบัติข้ออื่นๆ (จากหัวข้อวิธีดูคุณภาพน้ำมันมะพร้าว ดูได้อย่างไร) หรือสอบถามได้โดยตรงกับผู้ผลิต</span></font><br />
<br />
<br />
<br />
<font size="4"><b><u><span style="font-size: 12pt">7. ทำไมต้องเลือกชนิดน้ำมันสำหรับทอด หรือ ผัด </span></u></b></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">คุณสมบัติของน้ำมันนั้นขึ้นอยู่กับความอิ่มตัว และความยาวของโมเลกุล </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">น้ำมันที่มีความอิ่มตัวสูง จะมีคุณสมบัติคงสภาพและทนต่อความร้อนได้ดี เมื่อโดนความร้อน หรือความร้อนสูงที่ใช้ในการทอด โมเลกุลก็ยังคงไม่เปลี่ยนแปลง เนื่องจากไม่ยอมให้ ไฮโดรเจน หรือออกซิเจน เข้าไปจับตัวเพิ่ม (ขบวนการ OXIDATION ที่ทำให้เกิดอนุมูลอิสระ) </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">น้ำมันที่ไม่อิ่มตัว เนื่องจากแขนของโมเลกุลยังมีช่องว่างอยู่ ไฮโดรเจน หรือ ออกซิเจน จึงเข้าไปจับตัวได้ง่าย เกิดการ OXIDATION เกิดเป็นอนุมูลอิสระ และทำให้น้ำมันเสียได้เร็ว </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">สาเหตุที่ทำให้น้ำมันเสียมีอยู่ 5 วิธี </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">1. แสงสว่าง </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">2. ความร้อน </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">3. ออกซิเจน </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">4. ไฮโดรจิเนต (การเติมไฮโดรเจนเข้าไป เพื่อเปลี่ยนจากไขมันไม่อิ่มตัวเป็นอิ่มตัว ไขมันชนิดนี้อันตรายต่อสุขภาพมาก เรียกว่า TRANS FAT) </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">5. โฮโมจิไนซ์ การทำให้ไขมันแตกตัว </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">ในขบวนการผลิตน้ำมันผ่านกรรมวิธี โมเลกุลของน้ำมันได้ถูกรบกวนและเกิดเป็นอนุมูลอิสระไปแล้วในระดับหนึ่ง และถ้านำมาใช้ซ้ำอีกขบวนการเกิด TRANS FAT จะเกิดขึ้นได้สูงมาก </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">ปัจจุบันคนไทยมีความรู้สึกที่ดีมากกับน้ำมันมะกอก (VIRGIN OLIVE OIL) ให้ค่านิยมว่าเป็นน้ำมันสุขภาพ และนำมาใช้ปรุงอาหารทุกชนิดในครัว </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">ถึงแม้ว่าน้ำมันมะกอกจะมีกรดโอเลอิกที่มีประโยชน์มากต่อร่างกาย แต่กลับมีปริมาณไขมันอิ่มตัวเพียง 14% ปริมาณไขมันไม่อิ่มตัว 1 ตำแหน่ง 77% และปริมาณไขมันไม่อิ่มตัวหลายตำแหน่ง 9% ด้วยคุณสมบัตินี้ทำให้น้ำมันมะกอกไม่มีความคงทนต่อความร้อน จึงควรใช้ประกอบอาหาร เช่น น้ำสลัด หรือ การผัดอาหารที่ใช้น้ำมันไม่มาก และไม่ใช้ความร้อนสูง </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">ดังนั้นถ้าต้องการทอดอาหารหรือปรุงอาหารโดยใช้ความร้อนสูง อย่างสบายใจจึงควรใช้น้ำมันที่ผลิตโดยวิธีบีบเย็น (COLD PRESSED) และมีความอิ่มตัวสูงเท่านั้น เนื่องจากมีคุณสมบัติทนต่ออากาศ แสง และความร้อนได้ดี ส่วนน้ำมันพืช COLD PRESSED ชนิดอื่นๆ เมื่อเปิดใช้แล้วควรเก็บไว้ในตู้เย็น เพื่อป้องกันการเกิด OXIDATION จากอากาศและแสง</span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">ขอขอบคุณเนื้อหาและภาพประกอบจาก</span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">http://www.baanmaha.com/community/thread22292.html</span></font><!-- / message -->
<br />
<p style="text-align: center; margin: 0px"><font color="#ff0000" size="5"><strong><img alt="" src="http://tamdee.udomtam.com/home/attachment/200902/28/4_1235838482Tvvi.jpg" border="0" complete="complete" /></strong></font></p><br />
<u><strong><font size="4"><span style="font-size: 12pt">1. น้ำมันมะพร้าวเป็นโทษกับร่างกายหรือไม่ ?</span></font></strong></u><font size="4"><span style="font-size: 12pt"> </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">วงการแพทย์และนักโภชนาการสมัยใหม่ค้นพบแล้วว่า น้ำมันมะพร้าวไม่เป็นโทษกับร่างกายเลย อันที่จริงสิ่งที่ให้โทษกับร่างกายคือน้ำมันพืชผ่านกรรมวิธีหรือน้ำมันพืชที่เราใช้ปรุงอาหารอยู่ในปัจจุบัน ดังที่เป็นข่าวในอเมริกาว่า ผู้ดำเนินกิจการอาหารฟาสท์ฟู้ดถูกฟ้องฐานทำให้ผู้บริโภคเจ็บไข้ได้ป่วยเพราะใช้น้ำมันพืชผ่านกรรมวิธีที่มีกรดไขมันทรานส์มาปรุงอาหาร</span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">ในทางกลับกันน้ำมันมะพร้าวกลับช่วยป้องกันโรคหัวใจ เบาหวาน และมะเร็ง ไม่ทำให้อ้วนเพราะเผาผลาญได้เร็วจึงไม่สะสม และไม่ทำให้คอเลสเตอรอลสูงขึ้น และความที่เป็นกรดไขมันอิ่มตัวจึงช่วยควบคุมการเกิดออกซิเดชั่นของไขมันในร่างกาย ช่วยลดอนุมูลอิสระ ทำให้ผิวพรรณดี ไม่เหี่ยวย่นแก่ก่อนวัย </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">น้ำมันมะพร้าวไม่เป็นโทษแม้แต่กับเด็กเล็ก เนื่องจากน้ำมันมะพร้าวอุดมไปด้วยกรดลอริค ซึ่งเป็นกรดไขมันที่พบได้มากในน้ำนมแม่นั่นเอง วิธีรับประทานน้ำมันมะพร้าวที่ดีที่สุดคือใช้น้ำมันมะพร้าวแทนน้ำมันพืชชนิดอื่นๆในการปรุงอาหาร หรือจะรับประทานเป็นอาหารเสริมก็ได้ ผู้ใหญ่รับประทานวันละ 3-4 ช้อนชา เด็กวันละ 1-2 ช้อนชา โดยเฉลี่ยแบ่งรับประทานทีละน้อยจนครบจำนวนในแต่ละวัน หรือจะผสมในเครื่องดื่มร้อนๆเช่นโกโก้ร้อนหรือน้ำผลไม้อุ่นๆก็ได้ น้ำมะเขือเทศอุ่นผสมน้ำมันมะพร้าวมีรสชาติอร่อยมาก.</span></font><br />
<br />
<br />
<font size="4"><b><u><span style="font-size: 12pt">2. คุณภาพของน้ำมันมะพร้าวที่ดี ดูได้จากอะไรบ้าง ?</span></u></b></font><font size="4"><span style="font-size: 12pt"> </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">คุณภาพของน้ำมันมะพร้าว เบื้องต้นดูได้จากมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข โรงงานที่ผลิต และน้ำมันมะพร้าว ผ่านการตรวจสอบจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีความใสไม่มีสี ปราศจากสารปนเปื้อน มีกลิ่นหอม ได้รับการรับรองและเลขสารบบ อย. บนฉลากขวด</span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">แต่ก็สามารถตรวจสอบคุณภาพได้ด้วยตนเองง่ายๆ ดังนี้</span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">2.1. ความใส น้ำมันที่สะอาดจะมีความใส ลักษณะโปร่งแสง แต่อาจเปรียบเทียบคุณภาพความใสที่แตกต่างกันในแต่ละยี่ห้อได้ไม่ชัดเจน เนื่องจากไม่ได้อยู่ในขวดลักษณะเดียวกัน สีของพลาสติกหรือแก้ว อาจทำให้มีอิทธิพลกับสีได้บ้าง</span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">2.2. กลิ่น ความหอมของน้ำมันมะพร้าว ต้องหอมอ่อนให้ความรู้สึกว่าเป็นน้ำมันสดใหม่ ไม่มีกลิ่นหืน หรือเปรี้ยว ถึงแม้ว่าจะเปิดใช้แล้วกลิ่นต้องไม่เปลี่ยนแปลง แต่ยังมีผู้ผลิตบางรายดัดแปลงกลิ่น โดยใช้น้ำหอมสังเคราะห์กลิ่นมะพร้าว หรือ กลิ่นมะพร้าวน้ำหอมเข้าไป วิธีนี้จะทำให้มีกลิ่นหอมมากในตอนเปิดขวดหรือเปิดใช้ หลังจากนั้นความหอมจะจางลง และเปลี่ยนเป็นเหม็นเปรี้ยว และทำให้อายุของน้ำมันมะพร้าวอยู่ได้ไม่นาน </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">2.3. ความเบา น้ำมันมะพร้าวคุณภาพดี จะมีความเบา มีความหนืดน้อยมาก เวลารับประทานจะผ่านลำคอได้ง่ายและเร็ว มีความรู้สึกเหมือนละลายในปาก ในขณะที่กลืนลงคอไม่มีกลิ่นรุนแรง ไม่เลี่ยน</span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">2.4. ความซึมเข้าสู่ผิว น้ำมันมะพร้าวคุณภาพดี จะมีโมเลกุลเล็ก ทำให้ซึมเข้าสู่ผิวได้เร็ว ไม่ทิ้งคราบน้ำมันลอยอยู่บนผิว</span></font><br />
<br />
<br />
<br />
<font size="4"><b><u><span style="font-size: 12pt">3. ใช้น้ำมันมะพร้าวทำอาหารแล้วมีกลิ่น / เทคนิคการรับประทานน้ำมันมะพร้าว</span></u></b></font><font size="4"><span style="font-size: 12pt"> </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">กลิ่นของน้ำมันมะพร้าวมีเหตุผล 2 ลักษณะ คือ </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">1. ความเคยชินของการใช้น้ำมันพืชผ่านกรรมวิธีที่ใช้สารเคมีฟอกสี ฟอกกลิ่นออกจนหมดจึงไม่ได้กลิ่นเวลาทำอาหาร</span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">2. น้ำมันพืชบริสุทธิ์ทุกชนิดจะมีกลิ่นเฉพาะตัว เนื่องจากไม่ได้ใช้สารเคมีใดเข้าไปดัดแปลง น้ำมันมะพร้าวก็เช่นกัน จะมีกลิ่นเฉพาะของน้ำมันมะพร้าว หากผู้บริโภคไม่เคยชิน อาจใส่ใบเตยหรือหอมซอยลงไปในน้ำมันก่อนทอด จะทำให้กลิ่นของน้ำมันมะพร้าวลดลงได้มาก</span></font><br />
<br />
<font size="4"><b><span style="font-size: 12pt">เทคนิคการับประทานน้ำมันมะพร้าวในรูปแบบต่าง ๆ</span></b></font><font size="4"><span style="font-size: 12pt"> </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">1. ใส่ผสมในน้ำผลไม้ (สูตรของ ดร.ณรงค์โฉมเฉลา ใส่ลงในน้ำส้มคั้นรับประทานทุกวัน) </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">2. ใส่ในแกงจืด อาหารแกงต่างๆ </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">3. ใช้เป็นน้ำสลัด </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">4. ราดบนน้ำแข็งใส ไอศกรีม (สูตรนี้เด็กชอบรับประทาน) </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">5. ใช้ทอดอาหาร อาหารจะไม่ชุ่มน้ำมัน และมีความกรอบได้นาน </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">6. ใส่ลงไปพร้อมการหุงข้าว จะทำให้ได้ข้าวนุ่ม หอม อร่อย (สูตรพิเศษใส่กระเทียมเล็ก 5-6 กลีบ และใบเตยโรยเกลือนิดหน่อยจะยิ่งทำให้อร่อยมากขึ้น)</span></font><br />
<br />
<br />
<font size="4"><b><u><span style="font-size: 12pt">4. เวลาน้ำมันมะพร้าวเป็นไข</span></u></b></font><font size="4"><span style="font-size: 12pt"> </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">น้ำมันและไขมันมีความแตกต่างกันอย่างไร น้ำมัน และไขมันมักจะถูกใช้แทนที่กันเสมอ น้ำมันมีสถานะเป็นของเหลว ส่วนไขมันมีสถานะเป็นของแข็ง น้ำมันทุกชนิด สามารถกลายเป็นไขได้ แต่ด้วยอุณหภูมิที่แตกต่างกัน น้ำมันมะพร้าวเป็นไข (แข็งตัว มีลักษณะเป็นครีมขาว) ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 25๐c เนื่องจากมีคุณสมบัติเป็นน้ำมันอิ่มตัวสูง จึงเปลี่ยนเป็นไขเร็วกว่าน้ำมันชนิดอื่น ทำให้น้ำมันมะพร้าวมีสภาพเป็นครีมขาว ณ ที่จุดวางขาย หากมีอุณหภูมิเย็น (และจะเปลี่ยนกลับเป็นน้ำมันใสดังเดิมที่อุณหภูมิสูงกว่า 25?c)</span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">ไขของน้ำมันมะพร้าวไม่ใช่น้ำมันเสีย แต่กลับเป็นสัญลักษณ์ของน้ำมันชนิดดี ที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เมื่อคุณซื้อมาจากชั้นวางขาย หรือวางไว้ในห้องแอร์ น้ำมันมะพร้าวอาจเป็นไขได้ คุณเพียงแต่ละลายไขนั้นด้วยการนำออกไปวางในห้องที่มีอุณหภูมิปกติ หรือวางไว้ในบริเวณที่ใกล้แสงแดด (ไม่ควรตากแดด เพราะหากลืมทิ้งไว้เป็นเวลานาน ความร้อนที่สะสมอาจมีผลกับภาชนะบรรจุ) </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">ถึงแม้น้ำมันมะพร้าวจะเป็นผลิตผลของพืชเมืองร้อน แต่กลับเป็นที่นิยมของคนที่อยู่ในเขตหนาว การเป็นไขของน้ำมันมะพร้าวจึงเป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้น ภาชนะที่ใช้ให้เหมาะสมจึงใช้เป็นกระปุกปากกว้าง เพื่อใช้ตักแทนการเทริน และขณะนี้การสั่งน้ำมันมะพร้าวออกไปขายยังประเทศเหล่านั้นไม่เพียงพอต่อความต้องการ</span></font><br />
<br />
<br />
<font size="4"><b><u><span style="font-size: 12pt">5. SHELF LIFE ของน้ำมันมะพร้าว </span></u></b></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">น้ำมันมะพร้าวที่ดีจะมี SHELF LIFE (อายุของผลิตภัณฑ์) นานมาก MCFAS (กรดไขมันสายปานกลาง) จะมีคุณสมบัติเป็นสาร ANTIOXIDANTS ทำให้ป้องกันการเสียได้นาน จากผลทดลองในห้อง LAB ของฟิลิปปินส์ น้ำมันมะพร้าวที่บรรจุในกระปุกและเปิดฝาทิ้งไว้ มี SHELF LIFE นานกว่า 5 ปี</span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">แต่ถ้าน้ำมันมะพร้าวมีกลิ่นเหม็นเปรี้ยว หรือ หืนแล้ว ไม่ควรรับประทาน เพราะกลิ่นที่เปลี่ยนไปนี้เกิดจากมีความชื้นเข้าไปรวมตัวกับน้ำมันมะพร้าว เกิดเป็นสารอนุมูลอิสระ</span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">เพราะฉะนั้นศัตรูที่สำคัญที่สุดของน้ำมันมะพร้าว คือความชื้น ขั้นตอนการ DRY OIL คือการกำจัดความชื้นออกจากน้ำมันมะพร้าว เป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุดขั้นตอนหนึ่ง ดังนั้นเมื่อต้องการน้ำมันมะพร้าวที่ดี การดมกลิ่นจึงสามารถใช้เป็นมาตรฐานการเลือกซื้อเบื้องต้นได้ และหลังจากเปิดใช้แล้วควรเก็บให้ห่างจากการเปียกน้ำ และความชื้น จะทำให้มีอายุการใช้งานได้นาน</span></font><br />
<br />
<br />
<font size="4"><b><u><span style="font-size: 12pt">6. ทำไมรับประทานน้ำมันมะพร้าวแล้วท้องระบาย และทำไมรับประทานน้ำมันแต่ละยี่ห้อท้องระบายไม่เท่ากัน</span></u></b></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">ในลำไส้ใหญ่ของเราจะอุดมไปด้วย PROBIOTIC แบคทีเรียชนิดดีอยู่เป็นจำนวนมาก ทำหน้าที่ควบคุมเชื้อยีสต์ และเชื้อรา (ซึ่งเป็นสาเหตุของลำไส้ใหญ่อักเสบ เชื้อราในช่องคลอด) เมื่อเรารับประทานอาหารที่มีไฟเบอร์ซึ่งมีมากใน ผัก ผลไม้ PROBIOTIC จะใช้เอนไซม์ช่วยย่อย สิ่งที่ได้หลังการย่อย จะได้เป็นกรดไขมันสายสั้น (SCFAs) และกรดไขมันสายปานกลาง (MCFAs) ในสภาวะที่อุดมไปด้วยกรดไขมันนี้เป็นสภาวะที่เอื้อให้ PROBIOTIC เพิ่มจำนวนขึ้นมากอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้การย่อยในลำไส้ใหญ่มีประสิทธิภาพสูง จึงขับถ่ายเร็วขึ้น และขับของเสียออกมาอย่างสะดวกสบายท้อง </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">น้ำมันมะพร้าวอุดมไปด้วยกรดไขมันสายปานกลาง (MCFAs) จึงมีผลต่อ PROBIOTIC ทันทีที่น้ำมันเดินทางไปถึงลำไส้ใหญ่ ดังนั้นหลังจากรับประทานน้ำมันมะพร้าวไปได้ไม่นาน จะรู้สึกเป็นการกระตุ้นลำไส้ให้ขับถ่าย บวกกับคุณสมบัติความลื่นของไขมันจึงช่วยส่งเสริมให้การขับถ่าย ไหลลื่น สะดวดรวดเร็ว </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">การขับถ่ายที่สะดวกนี้ไม่เหมือนการขับถ่ายที่เกิดจากการรับประทานอาหารผิดสำแดง ไม่มีโทษใดๆ กับร่างกายไม่ทำให้ร่างกายอ่อนเพลีย เนื่องจากเสียเกลือแร่ ไม่มีผลอันตรายใดๆ เกิดขึ้นเหมือนเช่นรับประทานยาระบาย เพียงแต่ให้คอยสังเกตว่า ลำไส้ของเรามีความไวต่อเรื่องนี้มากน้อยอย่างไร ปรับจำนวนการรับประทาน และเวลาที่สะดวกในการขับถ่าย ก็จะเหมาะสมและสะดวกขึ้น </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">นอกจากคุณสมบัติของ MCFAs ที่ช่วยให้การขับถ่ายมีประสิทธิภาพดีแล้ว และหากคุณใช้น้ำมันมะพร้าวพร้อมกันหลายยี่ห้อและให้ผล จำนวนการรับประทานที่แตกต่างกัน เช่นบางยี่ห้อรับประทานเพียง 1 ช้อนโต๊ะ บางยี่ห้อต้องรับประทานถึง 2 ช้อนโต๊ะ จึงจะมีผลในการขับถ่ายเหมือนกัน ให้สันนิษฐานเบื้องต้นว่ามีความแตกต่างกันที่ความสะอาดในการผลิต ยี่ห้อที่รับประทานถึง 2 ช้อนโต๊ะน่าจะมีความสะอาดในการผลิตมากกว่า และควรกลับไปพิจารณาเปรียบเทียบในคุณสมบัติข้ออื่นๆ (จากหัวข้อวิธีดูคุณภาพน้ำมันมะพร้าว ดูได้อย่างไร) หรือสอบถามได้โดยตรงกับผู้ผลิต</span></font><br />
<br />
<br />
<br />
<font size="4"><b><u><span style="font-size: 12pt">7. ทำไมต้องเลือกชนิดน้ำมันสำหรับทอด หรือ ผัด </span></u></b></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">คุณสมบัติของน้ำมันนั้นขึ้นอยู่กับความอิ่มตัว และความยาวของโมเลกุล </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">น้ำมันที่มีความอิ่มตัวสูง จะมีคุณสมบัติคงสภาพและทนต่อความร้อนได้ดี เมื่อโดนความร้อน หรือความร้อนสูงที่ใช้ในการทอด โมเลกุลก็ยังคงไม่เปลี่ยนแปลง เนื่องจากไม่ยอมให้ ไฮโดรเจน หรือออกซิเจน เข้าไปจับตัวเพิ่ม (ขบวนการ OXIDATION ที่ทำให้เกิดอนุมูลอิสระ) </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">น้ำมันที่ไม่อิ่มตัว เนื่องจากแขนของโมเลกุลยังมีช่องว่างอยู่ ไฮโดรเจน หรือ ออกซิเจน จึงเข้าไปจับตัวได้ง่าย เกิดการ OXIDATION เกิดเป็นอนุมูลอิสระ และทำให้น้ำมันเสียได้เร็ว </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">สาเหตุที่ทำให้น้ำมันเสียมีอยู่ 5 วิธี </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">1. แสงสว่าง </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">2. ความร้อน </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">3. ออกซิเจน </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">4. ไฮโดรจิเนต (การเติมไฮโดรเจนเข้าไป เพื่อเปลี่ยนจากไขมันไม่อิ่มตัวเป็นอิ่มตัว ไขมันชนิดนี้อันตรายต่อสุขภาพมาก เรียกว่า TRANS FAT) </span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">5. โฮโมจิไนซ์ การทำให้ไขมันแตกตัว </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">ในขบวนการผลิตน้ำมันผ่านกรรมวิธี โมเลกุลของน้ำมันได้ถูกรบกวนและเกิดเป็นอนุมูลอิสระไปแล้วในระดับหนึ่ง และถ้านำมาใช้ซ้ำอีกขบวนการเกิด TRANS FAT จะเกิดขึ้นได้สูงมาก </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">ปัจจุบันคนไทยมีความรู้สึกที่ดีมากกับน้ำมันมะกอก (VIRGIN OLIVE OIL) ให้ค่านิยมว่าเป็นน้ำมันสุขภาพ และนำมาใช้ปรุงอาหารทุกชนิดในครัว </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">ถึงแม้ว่าน้ำมันมะกอกจะมีกรดโอเลอิกที่มีประโยชน์มากต่อร่างกาย แต่กลับมีปริมาณไขมันอิ่มตัวเพียง 14% ปริมาณไขมันไม่อิ่มตัว 1 ตำแหน่ง 77% และปริมาณไขมันไม่อิ่มตัวหลายตำแหน่ง 9% ด้วยคุณสมบัตินี้ทำให้น้ำมันมะกอกไม่มีความคงทนต่อความร้อน จึงควรใช้ประกอบอาหาร เช่น น้ำสลัด หรือ การผัดอาหารที่ใช้น้ำมันไม่มาก และไม่ใช้ความร้อนสูง </span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">ดังนั้นถ้าต้องการทอดอาหารหรือปรุงอาหารโดยใช้ความร้อนสูง อย่างสบายใจจึงควรใช้น้ำมันที่ผลิตโดยวิธีบีบเย็น (COLD PRESSED) และมีความอิ่มตัวสูงเท่านั้น เนื่องจากมีคุณสมบัติทนต่ออากาศ แสง และความร้อนได้ดี ส่วนน้ำมันพืช COLD PRESSED ชนิดอื่นๆ เมื่อเปิดใช้แล้วควรเก็บไว้ในตู้เย็น เพื่อป้องกันการเกิด OXIDATION จากอากาศและแสง</span></font><br />
<br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">ขอขอบคุณเนื้อหาและภาพประกอบจาก</span></font><br />
<font size="4"><span style="font-size: 12pt">http://www.baanmaha.com/community/thread22292.html</span></font><!-- / message -->