โพสต์: 12 years ago อ้าง #60
<span style="font-size: 12pt; font-weight: bold;">1.3 ความจริงที่ถูกเปิดเผย<br />
<br />
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span><span style="font-size: 12pt;">&nbsp;&nbsp;แม้กระทั่งในปัจจุบัน คนทั่วไปก็ยังเชื่อว่า<a shape="rect" href="http://www.coconutplaza.com" target="_blank">น้ำมันมะพร้าว</a>เป็นอันตรายต่อสุขภาพ&nbsp; โดยเฉพาะเป็นต้นเหตุของ<a shape="rect" href="http://www.coconutplaza.com" target="_blank">โรคหัวใจ</a>&nbsp; ผู้ที่ได้ออกมาต่อสู้กับความบอดเบือนในวงการวิทยาศาสตร์อันเนื่องมาจากผลประโยชน์อันมหาศาลของอุตสาหกรรมน้ำมันพืชอเมริกัน คือ Dr. Mary G. Enig, Director, Nutritional Sciences Division , Enig Associates, Inc. ซึ่งได้เรียบรียงหนังสือเล่มหนึ่งชื่อ &quot;<a shape="rect" href="http://www.coconutplaza.com" target="_blank">Know Your Fats</a> : The Complete Primer for Understanding the Nutrition of Fats , Oils and Cholesterol.&quot; <br />
<br />
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ในหนังสือเล่มนี้ Dr.Enig ได้กล่าวว่ามีข้อมูลที่ผิดพลาด และบิดเบือนในวงการแพทย์ และสื่อสารมวลชนของน้ำมันอิ่มตัวธรรมชาติ&nbsp; กล่าวคือน้ำมันเขตร้อน อันได้แก่&nbsp; น้ำมันมะพร้าวและน้ำมันปาล์ม ได้รับการประนามว่าเป็นอันตรายต่อสุขภาพ&nbsp; ก็เพราะแรงผลักดันทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมน้ำมันพืชอเมริกัน&nbsp;<br />
<br />
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ที่จริงแล้ว&nbsp; จากการศึกษาทางระบาดวิทยาพบว่า&nbsp; น้ำมันเขตร้อนกลับเป็นตัว<a shape="rect" href="http://www.coconutplaza.com" target="_blank">ป้องกันโรคหัวใจ</a>&nbsp; ดังเช่นในปี 1981&nbsp; ได้มีการศึกษาที่แสดงให้เห็นว่า&nbsp; ชาวพื้นเมืองในเกาะมหาสมุทรแปซิฟิก&nbsp; ซึ่งบริโภคน้ำมันมะพร้าวเป็นประจำในปริมาณสูง&nbsp; ไม่มีใครเป็นโรคหัวใจแต่อย่างใด&nbsp; แต่เมื่อชาวพื้นเมืองเหล่านี้&nbsp; อพยพไปสู่ประเทศนิวซีแลนด์&nbsp; และลดการบริโภคน้ำมันมะพร้าว&nbsp; ผลปรากฏว่า คอเลสเตอรอลรวม และ LDL เพิ่มขึ้น และ HDL กลับลดลง<br />
<br />
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;นอกจาก Dr.Enig ซึ่งมีผลการวิจัยที่ตีพิมพ์แล้วมากมาย ยังมีนักวิทยาศาสตร์&nbsp; และแพทย์ชาวอเมริกันอีกหลายคน&nbsp; ที่ยังซื่อสัตย์ต่อวิชาชีพของตน ได้ออกมาต่อสู้เพื่อความถูกต้องทางวิทยาศาสตร์ บุคคลเหล่านี้ได้แก่ <br />
<br />
Dr.Bruce Fife (2000,2004,2005,2006)<br />
Dr.Ray&nbsp;&nbsp;&nbsp; Peat(2004,2005)<br />
Dr.Jon .J. Kabara (1978,1985,2004)<br />
Dr. O. Ravnskov(2000)<br />
Dr.Joseph Mercola(2003)<br />
</span>
<p style="margin: 0px; text-align: right;"><span style="font-size: 12pt; font-weight: bold;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span><span style="font-size: 12pt; font-style: italic;">โดย ดร.ณรงค์ โฉมเฉลา ประธานชมรมอนุรักษ์และพัฒนาน้ำมันมะพร้าวแห่งประเทศไทย</span></p>